
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Cerebral aneurysm)
โรคหลอดเลือดสมองมี 2 ชนิด คือ โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง (อ่านเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com เรื่องโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดและชนิดเลือดออก)

แพทย์วินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองอย่างไร
แพทย์วินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองอย่างไร? แพทย์วินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองจากประวัติที่ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติดังกล่าวข้างต้นใน หัวข้อ อาการ ร่วมกับการตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจร่างกายทางระบบประสาทการตรวจสืบค้นด้วย เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง

โรคหลอดเลือดสมองโป่งพองถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพองถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่? - โรคหลอดเลือดสมองโป่งพองสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เช่น ที่พบได้ในโรคทางพันธุกรรมเหล่านี้ คือ - โรคที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue disease ) เช่น โรค Ehlers –Danlos syndrome

ควรดูแลตนเองอย่างไร
ควรดูแลตนเองอย่างไร? กรณีมีหลอดเลือดสมองโป่งพองและเคยแตกแล้ว การดูแลตนเองที่ดี คือ - การไม่ออกแรงเบ่ง เช่น ไม่ให้ท้องผูก ไม่ยกของหนัก และไม่ไอรุนแรง เพราะการไอแรง ๆ หรือออกแรงเบ่ง จะทำให้มีการแตกของหลอดเลือดได้ง่าย