
อัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นหนึ่งในโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อ

โรคอัลไซเมอร์มีอาการอย่างไร
อาการของโรคนี้จะค่อยเป็นค่อยไป และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งเสียชีวิตในที่สุด โดยคร่าวๆ จะแบ่งอาการเป็นระยะต่าง ๆ ดังนี้ 1. ระยะก่อนสมอง

แพทย์วินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างไร
การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ จะอาศัยจากอาการเป็นหลัก โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะรู้ตัวว่ามีปัญหาในด้านความจำและการใช้ชีวิตประจำวันแต่อาจมีผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่ไม่ได้ตระหนักว่าตนเองกำลังมีความผิดปกติอยู่

โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ (ตอนที่ 1)
กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้ร่วมกับมูลนิธิโรคอัลไซเมอร์แห่งประเทศไทย และศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดงาน “สร้างสรรค์สังคมไทยห่างไกลอัลไซเมอร์

โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ (ตอนที่ 2)
อาการของโรคอัลไซเมอร์ ได้ถูกแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะก่อนสมองเสื่อม (Pre-dementia) - อาการแรกเริ่มมักเข้าใจผิด โรคนี้เกิดขึ้นเองจากความชรา หรือความเครียด การทดสอบทางจิตประสาทวิทยาต้องใช้เวลา 8 ปี

โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ (ตอนที่ 3)
พยาธิสรีรวิทยา สามารถอธิบายตามหัวข้อต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. พยาธิสภาพประสาท - ลักษณะที่พบคือ มีการสูญเสียเซลล์ประสาทและช่องว่างระหว่างเซลล์ประสาทภายในส่วนเปลือกของสมอง (Cerebral cortex) และข้างใต้ส่วนเปลือกของสมองทำให้เกิดการฝ่อของสมองภาพจากกล้องจุลทรรศน์ พบได้ทั้งคราบ

โรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ (ตอนที่ 4 และตอนจบ)
การป้องกัน ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่ามีวิธีใดที่ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างได้ผล มีการพบว่าอาหารเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean) ได้แก่ ผักและผลไม้ ขนมปัง ข้าวสาลีและธัญพืชต่าง ๆ

ดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์อย่างไร
การดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์ คือ 1. ผู้ป่วยที่เริ่มมีอาการของความจำเสื่อมควรหยุดขับรถด้วยตนเองคนเดียว ไม่ควรไปยังสถานที่ไม่คุ้นเคยเพียงลำพังหรือไปทำธุระคนเดียวโดยเฉพาะหากเป็นเรื่องสำคัญ เช่น ธุรกรรมทางการเงิน และเมื่อมีอาการมากแล้วจะต้องมีผู้ดูแลใกล้ชิดตลอดเวลา

ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างไร
มีคำแนะนำถึงวิธีต่าง ๆ ที่เชื่อว่าอาจป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้ ได้แก่ 1. การให้ฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน แต่ก็ไม่แนะนำเนื่องจากเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งเต้านม และถ้าใช้ฮอร์โมนชนิดผสมเอสโตรเจน-โปรเจสเทอโรน นอกจากเสี่ยงต่อโรคมะเร็งแล้วยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ด้วย

รักษาโรคอัลไซเมอร์อย่างไร
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาด การรักษาด้วยยาอาจช่วยรักษาอาการที่เป็นได้มากน้อยแตกต่างกันไป แต่ไม่มียาตัวไหนที่จะสามารถชะลอหรือหยุดการดำเนินของโรคได้ แบ่งการรักษาออกได้เป็น 1. การรักษาด้วยยา